

ก้าวสู่ศตวรรษใหม่ (2)
คุณหญิงจำนงศรี ซึ่งในเวลานี้เรียกตัวเองว่า ‘ป้าศรี’ ยืนยันด้วยความมั่นใจที่ไม่ได้ลดถอยลง แต่เพิ่มเรื่อยๆ ตามวัยว่า “ความแก่นี้มีข้อดี”


Unwanted Truth
ตอนนี้คนแก่มากขึ้น ควบคู่กันไปนั้นคือวิทยาการทางการแพทย์ที่จะรักษา มันมาถึงจุดที่ว่าจุดไหนคือการยื้อชีวิต จุดไหนคือการยื้อความตาย


เวทีเสวนา พร้อมก่อนตาย
พยายามขับเคลื่อนให้ประเทศไทยมีการดูแลผู้ป่วยในระยะท้าย ให้ประชาชนได้มีการตายที่ดีอย่างเป็นระบบ


ก้าวข้ามความกลัวในผู้สูงวัย
ความกลัวมันเป็นตัวของมันเอง น่ากลัว เพราะฉะนั้นถ้าเราจะไม่กลัวความกลัวเสียอย่างหนึ่งนี่จบเลย


Thimphu, Bhutan
ติดตามผลงานของชีวามิตร ในการช่วยทำให้เกิด Bhutan Palliative Care model ที่ภูฏาน


ชีวิตก่อนตาย คุณอยากมีความสุข หรือเป็นสุข
ความทรงจำเก่าๆ ของคนสูงวัยนั้นไม่มีประโยชน์อะไร หากไม่มีการเรียนรู้ ช่วยให้เราเข้าใจ แล้วก็ปล่อยมันไป


คุณค่าของชีวิต
มาเป็นคนนี้ในวันนี้ ก็เพราะ 'ฟ้ากับเหว' ในชีวิตนี่แหละ 'เหว' เป็นห้องเรียนที่ดีกว่า 'ฟ้า' ยิ่งสาหัสยิ่งเรียนรู้ได้มาก


รู้จักคุณค่าชีวิต ทำความรู้จักความตาย
คำว่าตายอยู่ในชีวิตมาตั้งแต่ต้น ทำให้เราเริ่มสนใจเกี่ยวกับความตาย งานเขียนที่ได้ตีพิมพ์เรื่องแรก ก็เกี่ยวข้องกับความตาย

ป้าศรี กับพินัยกรรมชีวิต
ความฝันมาแตะเตือนให้ยอมรับว่า ที่ว่าไม่กลัวนั้นน่ะ แค่สมองคิด ทว่าลึกลงไปนั้น ...กลัว..เป็นความกลัวตายที่ผุดผงาดในรูปความฝัน


What if death...
..... ความกตัญญูที่แท้จริงกับคนที่เรารัก กับคนที่มีบุญคุณกับเรา มันคืออะไร...จุดไหนคือการยื้อชีวิต จุดไหนคือการยื้อความตาย


ตายอย่างไรไม่ทุกข์
“ถ้ารักเราจริง ก็ควรเคารพในสิทธิและความต้องการที่จะตายอย่างไม่ถูกยื้อให้ทนทุกข์ทรมาน ”


Like the flowing River /ชีวิตดั่งสายน้ำไหล
เมื่อเข้าใกล้โค้งสุดท้ายของสายน้ำเล็กๆ นี้ เธอสนใจเรื่องความตาย และทำงานรณรงค์ในเรื่องสิทธิ์ในการอยู่และจากไปอย่างมีศักดิ์ศรี


มองโลกแบบป้าศรี
ผู้สูงอายุกับไม่สูงอายุมันก็เหมือนกัน ถ้าเราไม่ใช่ผู้สูงอายุเราอยากทำอะไร เราเป็นผู้สูงอายุเราก็ทำ ปัญหามีนิดเดียว คือข้อจำกัดด้านร่างกาย


พา “ความตาย” สู่พื้นที่สาธารณะ
เดิม 'ความตาย' และคำว่า 'ตาย' นับเป็นอวมงคล ตามวัฒนธรรมความเชื่อและ'ถือ'ของคนไทยส่วนใหญ่ ทั้งที่การระลึกถึงความตายนับเป็นการพัฒนาจิตปัญญา